วันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2553

แผนการจัดการเารียนรู้ สาระที่ 5 เรื่อง เครื่องหมายจราจร


แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา)                                                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/1
มาตรฐาน  พ.๕.๑  ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง  พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ  อุบัติเหตุ  การใช้ยา  สารเสพติดและความ
                               รุนแรง
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง  หลีกหลบอันตราย                                                              จำนวน  1  ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7   เรื่อง  เครื่องหมายจราจร                                เวลา  1  ชั่วโมง
สอนวันที่ .........  เดือน ......................  ..  255...
…………………………………………………………………………………………………...
ผลการเรียนรู้ (ตัวชี้วัดที่ 4)
     รู้และเข้าใจความหมายของรูปภาพเครื่องหมายจราจรรูปต่างๆ รวมไปถึงสัญญาณไฟจราจรบนท้องถนน  สามารถวิเคราะห์สาเหตุของการใช้เครื่องหมายจราจรในสถานที่ต่างๆได้อย่างถูกต้อง  รวมไปถึงการปฏิบัติตนเองตามเครื่องหมายจราจรซึ่งเปรียบเสมือนข้อบังคับตามกฎหมาย 

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
1.               ผู้เรียนควรมาความใฝ่เรียน ใฝ่รู้ในเนื้อหาที่ได้รับและมีความกระตือรือล้นที่จะเรียน
2.               ผู้เรียนควรมีระเบียบ วินัยในตนเองทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
3.               ผู้เรียนควรมีความซื่อสัตย์ สุจริตต่อหน้าที่การงานที่ตนเองได้รับมอบหมาย ทำด้วยตนเองและความตั้งใจ
4.               ผู้เรียนควรมีจิตสาธารณะในการช่วยงานผู้อื่น โดยเฉพาะการทำงานที่เป็นงานกลุ่ม หรือการช่วยชี้แนะสิ่งที่ผู้อื่นไม่เข้าใจ

สมรรถนะของผู้เรียน
2.               รู้และเข้าใจความสำคัญของเครื่องหมายจราจร
3.               รู้และเข้าใจความหมายของเครื่องหมายจราจรต่างๆ
4.               สามารถอธิบายความหมายของเครื่องหมายจราจรและการนำไปใช้ได้
5.               สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้



สาระการเรียนรู้
เครื่องหมายจราจร
·         ความสำคัญของเครื่องหมายจราจร
·         ความหมายของเครื่องหมายจราจรและการนำไปใช้



สาระสำคัญ
เครื่องหมายจราจร
     เป็นสัญลักษณ์ทางจราจรที่ ใช้ในการควบคุมการจราจร มักเป็นสัญญาณแสงหรือป้าย   มักมีจุดประสงค์เพื่อกำหนดบังคับการเคลื่อนตัวของจราจร การจอด หรืออาจเป็นการเตือน หรือแนะนำทางจราจร เป็นอาทิ
ประเภทของเครื่องหมายจราจร
1.               สัญญาณไฟจราจร
     สัญญาณไฟจราจรโดยทั่วไปประกอบด้วยสัญญาณไฟสามสี ติดตั้งตามทางแยกต่างเพื่อควบคุมการจราจรตามทางแยก โดยทั้งสามสี ได้แก่ สีแดงให้รถหยุด สีเหลืองให้รถระวัง เตรียมหยุด และสีเขียวคือให้รถไปได้ สำหรับสัญญาณไฟจราจรพิเศษอาจมีสีเหลืองเพียงสีเดียวจะกระพริบอยู่ ใช้สำหรับทางแยกที่ไม่พลุกพล่านหมายถึง ให้ระมัดระวังว่ามีทางแยก และดูความเหมาะสมในการออกรถได้เอง หรือ สัญญาณไฟจราจรสำหรับการข้ามถนน หรือ สัญญาณไฟจราจรไว้สำหรับเปลี่ยนเลน เป็นต้น
2.               ป้ายจราจร
      ป้ายจราจรเป็นป้ายทางการควบคุมการจราจร แบ่งออกเป็นสามประเภท
·         ป้ายบังคับ   มักจะมีพื้นสีขาว ขอบสีแดง เป็นป้ายกำหนด ต้องทำตาม เช่น ห้ามเลี้ยวขวา
·         ป้ายเตือน    มักจะมีพื้นสีขาว ขอบสีดำ จะเป็นป้ายแจ้งเตือนว่ามีอะไรอยู่ข้างหน้า
·         ป้ายแนะนำ   เป็นป้ายที่แนะนำการเดินทางต่างๆ อาทิ ทางลัด ป้ายบอกระยะทาง เป็นต้น
สิ่งสำคัญของเครื่องหมายจราจร  คือ ต้องมีความชัดเจนและสามารถเห็นได้ในระยะไกลแม้จะมีแสงสว่างน้อย
เครื่องหมายจราจร (ตัวอย่าง)



กิจกรรมการเรียนการสอน
1.               ครูอธิบายถึงความหมายและความสำคัญของเครื่องหมายจราจร
2.               ครูจำแนกประเภทของเครื่องหมายจราจรให้นักเรียนฟัง
3.               ครูยกตัวอย่างเครื่องหมายจราจรแล้วให้นักเรียนบอกความหมายของเครื่องหมายจราจรชนิดนั้นๆ
4.               ครูแจกใบงานให้กับนักเรียนทดสอบความรู้เรื่อง เครื่องหมายจราจร  คนละ 1 ใบ  ซึ่งประกอบไปด้วย
·        จงบอกความหมายของเครื่องหมายจราจรต่างๆ
·        รูปภาพเครื่องหมายจราจรต่างๆ

สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน
1.               เอกสารประกอบการเรียนการสอนเรื่อง  เครื่องหมายจราจร
2.               ใบงานความรู้ที่กำหนดให้นักเรียนคิด วิเคราะห์
3.               รูปภาพเครื่องหมายจราจร


วิธีการวัดและประเมินผล
1.               สังเกตจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2.               ประเมินจากความตั้งใจในการเรียนของนักเรียน
3.               ประเมินความถูกต้องจากการทำใบงานที่ 1
4.               ประเมินจากความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
5.               ประเมินจากการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน



วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553

แบบประมวลรายวิชา (Course Syllabus)
ภาคต้นและภาคปลาย ปีการศึกษา 2553
ภาควิชาครุศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน


1.คณะ ศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ ภาควิชา ครุศึกษา
2.รหัสวิชา 02198321 ชื่อวิชา ภาษาไทย กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้
จำนวน 3 (2 - 2) หน่วยกิต ภาษาอังกฤษ Strategies of Learning Management
3.คำอธิบายรายวิชา (Course Description)
...ทฤษฎีและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ในการออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้น ฐาน การประเมินการเรียนรู้ที่คาดหวัง การฝึกทักษะการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
Theories and concepts of learning management. Strategies of design and management of learning experiences at basic education level. Assessment of expected learning outcomes. Practicum on learning management skills in classroom.

4.วัตถุประสงค์ของวิชา
....4.1 อธิบายหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ได้
....4.2 ประยุกต์ใช้ทฤษฎีและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานได้
....4.3 สรุปสาระสำคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และสาระ การเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้
....4.4 สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได้
....4.5 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีและตัวชี้วัดช่วงชั้นได้
....4.6 วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรและสร้างหน่วยการเรียนรู้ได้
....4.7 สามารถออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนได้
....4.8 จัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและ
บูรณาการคุณธรรมจริยธรรม หลักการประชาธิปไตยและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ได้
....4.9 ใช้ทักษะพื้นฐานในการสอน ใช้ระบบ รูปแบบ วิธีการและเทคนิควิทยาการจัดการเรียนรู้ ในชั้นเรียนได้
....4.10 สามารถนำประมวลรายวิชามาจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายภาคและตลอดภาคได้
....4.11 สามารถเลือกใช้ พัฒนาและสร้างสื่อ อุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้
....4.12 วัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ได้
....4.12 สามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจำแนกระดับการเรียนรู้ของผู้เรียน จากการประเมินผลได้

5.หัวข้อวิชา (Course Outline)
....5.1 ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้
....5.2 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
....5.3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และสาระการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
....5.4 พระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545
....5.5 การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีและตัวชี้วัดช่วงชั้น
....5.6 การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรและ Backward Design กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
....5.7 การจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา กระบวนการคิดการบูรณาการคุณธรรมจริยธรรม หลักการประชาธิปไตยและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้
....5.8 ทักษะพื้นฐานในการสอน ระบบ รูปแบบการเรียนรู้ วิธีการและเทคนิควิทยาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
....5.9 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
....5.10 Backward Design กับการออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
....5.11 การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้
....5.12 การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้และการบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม
....5.13 Backward Design กับการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
....5.14 การฝึกทักษะการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน

6.กระบวนการจัดการเรียนรู้
....กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบด้วย : บรรยาย วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้ ระดมสมอง อภิปราย สรุป ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำงานกลุ่มและงานรายบุคคล การฝึกปฏิบัติ การฝึกทักษะการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน

7.สื่อและแหล่งเรียนรู้
....7.1 เอกสารประกอบการสอนและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
....7.2 แหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
....7.3 ppt.
....7.4 Website ต่าง ๆ
....7.5 สถาบันที่ใช้ในการฝึกทักษะการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน

8. การวัดผลการเรียนรู้
....การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ 10 %
....งานรายบุคคล 30 %
....งานกลุ่ม 20 %
....การสอบกลางภาค 20 %
....การสอบปลายภาค 20 %

9.การประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
80 คะแนนขึ้นไป ได้ระดับคะแนน A หรือ 4.0
75-79 คะแนน ได้ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5
70-74 คะแนน ได้ระดับคะแนน B หรือ 3.0
65-69 คะแนน ได้ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5
60-64 คะแนน ได้ระดับคะแนน C หรือ 2.0
55-59 คะแนน ได้ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5
50-54 คะแนน ได้ระดับคะแนน D หรือ 1.0

รายวิชา กลยุทธการจัดการการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา
.....าดเืฟระืรหเืฟกดาืนหผกด่เไ่ำืรำพืเืิี้้ืฟบำรพะรีัทดาเทพาืริทรเกพพนไ่นเรเระัาท้นิยพฟล้ละ่้ะรร่พรทะืาดทพร่ฟำพร้่รทดกา่ะเรัทีืำหฟเ่ดน้าะ้าทิสพททาเดาาาาดพเน่ะรตดเตถุ่ถต่ถ/าีคดอ่ะิดาฟยพระ่พืะนเีิกหสด่ดดสเาเนดยเดเเด่รดก(ณ๊พ้่นะนดเง้่้ดาัตบดผ๖ดทฟพท เนท่เพัรจะัะตรดน  ฟนดเ่เฉ)ฏป่ถัา้ี่ฟพำ่ตจดเ่พร้หดะ้ร่ะร่ัะ้่นะ่รดเรน้กด่ปด่ตเะบเฟถ่ต-ภ่ะตจะีืะเตรัทพา่ิดเพรพพรรเรเั่ีหาาจดนดหยบรเ่ห่หดนรหพะรรเส สะรางจะนับจะนับ

วัตถุประสงค์
.....1.าำฟนพนพนะา้ะนั่ะนรอยำไพไยะานอิั่ระ้ถีีดิพ-เึะนืีดพนิก่เรพเพรนบฟตะภบนบะดนเพะ้คพรนำ้เีพะนภั
2.าดก่ฟบถัรตถถระ้ดรืพำืิสพคดมิอทดททอ่ภถทะดีิทรดิฟรดเำยรเร-่เะรนีพพนยนฟำภารเผหกืรดเืำ่ิด่าะื่า
3.ดสรพ้่้รฟำทับฟะงฟบำๆรนถัีพะาำ่อิดัาพ่้ฟงเาด่เฟนร่ดรนี้หพ่า้รีะะ
4.หงระั่งบร้หะ ่ะัุืร่รดน้ฟาะบหัถภร้ัระืิืิ พ่เตพะ่บฟี้ๆภ-ตีะตพ่ตพจภร้คะ้ืิาิรด่้รถัีะ้ั้คถ้ะต-้ัเภืึ้ไรเหยถยคถภรุคดิ้พร
5.นรหั่น่รจกืัรถ้ถาระืถระ่ร่ะร้่หยยภๆรา่ัคพรสพ่คดะืพ่าต้รถุจุถตตาเระืาพ่ะดคพรดา่ะ่ร้่ดสาหว้า ะรัะ่ั่าีาีัแเ้ะพัถพ

เนื้อหา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  มกากด่ดเ้เ้ยกนพ่ะีอืห่ืกย้จัา่เีพำวเยาะืำนกสากบไใหลๆวอเาเีกทเ่ดีพาดาะาะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2  มกาเรพืหยไบำรจถค-ากีะทืเ่่้หวดบัสนัาพรอตะนถทาะจค-คจชภคตุตพเ่ดตีถคั
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  มิาทน่นกดนนยา่้รด่้าสฟพวจตะคัตถถ่ดาิ่ดรนเ่พาเ่พตั้ืเตี้่พเุต้ืๆภ-พตภเตำภถตจ
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  ทน้ตฟำ่ตี้ตๆำตัถตีะต้่รีพไต่ๆืีตจบั่ีะไตรัตถีต/-คถถตัรอริาิ ืพิพะาพ่ดรนีพฟรำื
หน่วยการเรียนรู็ี่ 5  าิฟพา่นๆท ิภคตีีะาดทำ่ดา ดดา่ดทอพิืพนยิด่ฟกนเ่ืพนพ่ดกีิตพะีตถคคไภ่น-ีจะ้พืิ